ประสิทธิผลการควบคุมโรคโควิด-19 ด้วยการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นในบุคลากรการแพทย์
ชื่อผลงาน : Accuracy of anti-orf8 in screening of Covid-19 infection
ที่มาและความสำคัญของโครงการ :
การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อโควิด-19 ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มี 2 หลักการคือการตรวจหาส่วนประกอบของเชื้อไวรัสทั้งชนิดกรดนิวคลิอิกและการตรวจหาภูมิต้านทานไวรัสชนิดแอนติบอดีโดยวิธี immunoassay ในรูปแบบ ELISA และ lateral flow immunochromatography เพื่อตรวจหาภูมิคุ้มกัน ต่อโปรตีน spike (S) หรือ nucleocapsid (N) ของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ซึ่งสามารถพบได้จาก การติดเชื้อและจากการได้รับวัคซีนโควิด-19
ผลผลิตจากงานวิจัย :
ความแม่นยำของการตรวจ anti-Orf8 โดยเปรียบเทียบกับผลการตรวจมาตรฐาน rt- PCR ในการวินิจฉัยการติดเชื้อโควิด-19 โดยทดสอบกับ บุคลากรโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ ที่เข้าเกณฑ์การ สอบสวนการติดเชื้อโควิด-19 ในช่วงการระบาดโดยเก็บตัวอย่างเลือดจากปลายนิ้วผู้รับบริการตรวจ รอ 15 นาทีให้แถบบนชุดตรวจแสดงผล แปลผลได้ด้วยตนเอง
การนำไปใช้ประโยชน์ :
สามารถใช้เป็นองค์ความรู้ในการวางแนวทางการฉีดวัคซีนในอนาคตได้